ประวัติศาสตร์ ยุคสมัยต่างๆ ของ มุนษย์ชาติ

ประวัติศาสตร์ เป็นเรื่องราวของ มนุษย์ชาติที่เกินขึ้นในอดีต ตั้งแต่อดีตที่เพิ่งจะผ่านพ้นไป จนถึงอดีตกาลที่นานโพ้น โดยจะแบ่งเป็นยุคสมัยต่างๆ สำหรับเรื่องราวปัจจุบันนั้น เราสามารถรู้ได้ด้วยเทคโนโลยีหรือ อินเตอร์เน็ต แต่สำหรับเรื่องราวต่างๆ ที่เคยเกิดขัึ้นก่อนหน้าการรับรู้ของเรานั้น เราสามารถศึกษาได้จาก หลักฐานทางประวัติศาสตร์ ด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์ โดยบันทึงทางประวัติศาสตร์ที่เกิดขึ้นหลังมุนษย์มีตังอักษรใช้งานแล้ว นับเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ให้ข้อมูลมากที่สุด จากอดีตที่ผ่านมา ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ เราได้ค้นพบว่ามีการจดบันทึกและรวบรวมพฤติกรรมที่คนสมัยนั้นเห็นว่า สำคัญและที่หลักฐานต่างๆ ทิ้งร่องรอยไว้ การที่รู้และเข้าใจอดีตได้ต้องมีคนทำหน้าท่ ค้นคว้า อ่าน แปล รวบรวม บักทึก ถ่ายทอด หลักฐานต่างๆ ที่กระจัดกระจายอยู่ให้ปรากฎออกมาให้เป็นเรื่องเป็นราวที่สัมผัสและรับรู้ได้  พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2544 ได้ให้ความหมายของ ประวิตศาสตร์ไว้ว่า วิชาว่าด้วยเหตุการณ์ที่เป็นมา หรือ เรื่องราวของ ประเทศชาติ เป็นต้น นามที่บันทึกได้กล่าวไว้เป็นหลักฐาน เฮโรโดตัส ( Herodtus ) ชาวกรีก ได้รับการยกย่องว่าได้เป็นบิดาแห่งวิชา ประวัติศาสตร์ จากผลงานที่สำคัญก็คือ การเขียนบันทึกไว้เป็นเรืองราวของสงครามระหว่างกรีก กับ ชาวเปอร์เซีย ส่วนในประเทศไทย สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรทพระยาคำรงราชานุภาพ ทรงได้รับพระสมัญญานานว่า พระบิดาแห่งประวัติศาสตร์ และโบราณคดีไทย โดย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเหล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 เป็นผู้บัญญัติศัพคำว่า ประวัติศาสตร์โลก

วันเวลาและยุคสมัยทาง ประวัติศาสตร์

  • พุททธศักราช ( พ.ศ. ) เป็นศาสนศักราชของศาสนาพุธ สมัคยที่ประเทศไทยเริ่มใช้พุทธศักราชอย่างเป็นทางการ คือ เมื่อสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยมีการนับ 2 แบบ ได้แก 1  แบบหีย่าง คือ เริ่มรับตั้งแต่ปีที่พระพุทเจ้าเสร็จปรินิพพานเป็น พ.ศ. 1 และ 2 แบบปีเต็ม คือ เริ่มนับปีตั้งแต่เมื่อพระพุทธเจ้าปรินิพานผ่านไปแล้ว 1 ปี เป็น พ.ศ.
  • มหาศักราช ( ม.ศ. ) พบมหาศักราช ในหลักฐาน ประวัติศาสตร์ไทย สมัยก่อนการสถาปนาสุโขทัย สมัยสุโขไทย มาจนถึงสมัย อยุธยา วิธีการเทียเป็นพุทธศักราช คือ มหาศักราช + 621 = พุทธศักราช
  • จุลศักราช ( จ.ศ. ) พบจุลศักราชในหลักฐานประวัติศาสตร์ไทย สมัยสุโขทัย เรื่อยมาจึนถึงสมัยรัตนโกสินทร์ ( ราชกาลที่ 4 ) วิธีการเทียบเป็น พุทธศักราช คือ จุลศักราช + 1181 + พุทธศักราช 
  • รัตนโกลินทร์ศก ( ร.ศ. ) เริ่มใช้ในรัชสมัยของ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยรัตนโกสินทร์ศกที่ 1 เริ่มในปี พ.ศ. 2325 ซึ่งตรงกับปีที่สถาปนากรุงเทพฯ เป็นราชธานี วิธีการเทียบเป็นพุทธศักราชคือ รักนโกสินทร์ศก + 2324 = พุทธศักราช 

การแบ่งออกของยุคสมัยทาง ประวัติศาสตร์

นักประวัติศาสตร์ ได้แบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ออกมาเป็น 2 ยุคใหญ่ๆ ก็คือ สมัยก่อนประวัติศาสตร์ และ สมัยประวัติศาสตร์ ที่ประกอบด้วย
สมัยก่อนประวัติศาสตร์ คือสมัยก่อนที่จะมีบันทึกเรื่องของสังคมมุนษย์

ยุคหิน โดยจะแบ่งออกเป็น 3 ยุคดังนี้

  • ยุคหิบเก่า (Old Stone Age) ราว 500,000–10,000 ปีก่อนคริสตกาล มุนษย์ยุคนั้นดำรงชีวิตตามธรรมดาด้วยการออกล่าสัตว์ และเก็บพืชผักผลไม้ เมื่อแหล่งอาหารร่อยหรอ ก็เร่ร่อนไปหาแหล่งอาหารใหม่ต่อ ไป ไม่มีที่อยู่เป็นหลักแหล่ง เครื่องมือเครื่องไม้ ทำมาจากหิบกะเทาะแบบหยาบๆ ใช้สำหรับ ทุบ บด สับ หรือ ขุด ประวัติศาสตร์โบราณคดี
  • ยุคหินกลาง (Middle Stone Age) ราว 10,000–7,000 ปีก่อนคริสตกาล มุนษย์เริ่มอยู่รวมกันเป็นกลุ่มมากขึ้น เริ่มเป็นสังคม และช่วยกันออกหาอาหาร เริ่ม ประดิษฐ์เครื่องไม้เครื่องมือที่ประณีตมากขึ้นเรื่อยๆ ประวัติศาสตร์วัฒนธรรม
  • ยุคหิบใหม่ (New Stone Age) ราว 7,000–5,000 ปีก่อนคริสตกาล มุนษย์ รู้จักการผลิตอาหารเอง มีการเพาะปลูก และการเลี้ยงสัตว์เข้ามา จึงไม่ต้องเร่เร่อนไปหาแหล่งอาหารใหม่เรื่อยๆ เกิดการตั้งชุมชนเป็นหลักเป็นแหล่งอย่างถาวร เครื่องมือหินมีความประณีตมากขึ้น สามารถขับหินจนเรียบเนียนเป็นมัน และแหลมคมจนสามารถเฉือนได้อย่างกับมีด เรื่มรู้จักจักการทำภาชนะด้วยดินเผา  ประวัติศาสตร์ยุคโบราณ

ยุคโลหะ ( Metal Age) ราว 5,000–3,000 ปีก่อนคริสตกาล จะแบ่งออกเป็น 2 ยุคย่อยมีดังนี้

  • ยุคสำริด ( Bronze Age ) มุนษย์เริ่มรู้จักการถลุงโลหะมาทำเครื่องมือ เครื่องใช้ โดยเครื่องใช้โลหะชนิดแรกๆ ที่มุนษย์นำมาทำเป็นเครื่องมือเครื่องใช้ก็คือ ทองแดง และดีบุก เมื่อหลอมรวมกันจะได้เป็นโลหะผสมที่เรียกว่า “ สำริดประวัติศาสตร์ยุคกลาง
  • ยุคเหล็ก ( Iron Age ) มุนษย์ค้นพบวิธีถลุงแร่เหล็ก ซึ่งเป็นโลหะที่มีความแข็งแรง และเหนียวกว่าโลหะทองแดงและสำริด ทำให้เครื่องมือที่ผลิตได้มีความแข็งแรงและทนทานมาก ชาวฮิทไทท์พบวิธีลุงเหล็กเป็นชาติแรง อาวุธและเกราะจากเหล็กกล้า ทำให้อาณาจักรฮทไทท์มีความยิ่งใหญ่ด้านการทหาร มากกว่าอาณาจักรอื่นในสมัยนั้น ประวัติศาสตร์บุคคลสำคัญ

หลักฐานทางประวัติศาสตร์

หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษรจะแยกได้เป็น 3 พวกคือ

  • แหล่งข้อมูลปฐมภูมิ ได้แก่ เรื่องราวของเหตุการณ์ ที่ถูกบันทึกไว้โดยผู้รู้ผู้เห็น หรือ เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์นั้นโดยตรง ประวัติศาสตร์สงคราม
  • แหล่งข้อมูลทุติภูมิ ได้แก่ บทความหรือรายงานของนักวิชาการทั้งในด้านประวัติศาสตร์และสาขาสิชาการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 
  • ประวัติศาสตร์เหตุการณ์สำคัญ
  • แหล่งข้อมูลตติภูมิ ได้แก่ เอกสารทางประวัติศาสตร์ที่ผู้อื่นเรียบเรียงไว้ สารานุกรม และเกสารทางวิชาการอื่นๆ 

หลังฐานที่เป็นวัตถุ ได้แก่ โบราณวัตถุ โบราณสถาน เงินตรา ฯลฯ ประวัติศาสตร์การศึกษา

ประโยชน์ของประวัติศาสตร์

ประวัติศาสตร์คือเครื่องมือที่มีความสำคัญที่จะทำให้เรารู้จักและเข้าใจเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ที่เกิดขึ้นในอดีต การศึกษาประวัติศาสตร์ช่วยให้เรามีโอกาสได้เรียนรู้จากความสำเร็จและความล้มเหลวในอดีตของมนุษย์ และส่วนใหญ่จะนำไปใช้เพื่อพัฒนาอนาคตให้ดีขึ้น ในบทความนี้เราจะกล่าวถึงประโยชน์ที่สำคัญของการศึกษาประวัติศาสตร์ดังนี้

  • การเรียนรู้จากความสำเร็จและความล้มเหลวในอดีต ประวัติศาสตร์ช่วยให้เราได้เรียนรู้จากความสำเร็จและความล้มเหลวในอดีตของมนุษย์ และนำความรู้นั้นไปใช้ในการเลือกตัดสินใจที่ดีในปัจจุบัน ประวัติศาสตร์การเมือง
  • เพื่อให้เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นซ้ำไปไม่ให้เกิดขึ้นอีก การศึกษาประวัติศาสตร์ทำให้เรารู้ว่าความเปลี่ยนแปลงในอดีตมีผลกระทบต่อปัจจุบันและอนาคต นอกจากนี้ยังเป็นการเรียนรู้จากความผิดพลาดในอดีตเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดซ้ำในอนาคต
  • การเสริมสร้างสัญชาตญาณและความภูมิใจในประเทศและชุมชน การศึกษาประวัติศาสตร์ช่วยสร้างความเข้าใจในประเทศและชุมชนของเรามากขึ้น และสร้างความภูมิใจในสิ่งที่มีอยู่ในประเทศของเรา
  • การเรียนรู้จากสิ่งที่เคยทำให้เราเจริญก้าวไปข้างหน้า ประวัติศาสตร์ สร้างโอกาสให้เราได้เรียนรู้จากการทำสิ่งต่างๆ ในอดีต และนำความรู้นั้นมาเป็นแนวทางในการเจริญก้าวไปข้างหน้า
  • การเกิดความเข้าใจในความหลากหลายทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ช่วยให้เรามีความเข้าใจในความหลากหลายทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมของสังคมต่างๆ ซึ่งเป็นประโยชน์ในการสร้างความเข้าใจและการรับรู้กันในสังคมในปัจจุบัน
  • การสร้างการเชื่อมโยงระหว่างอดีตและปัจจุบัน การศึกษาประวัติศาสตร์ช่วยให้เราเชื่อมโยงสิ่งที่เกิดขึ้นในอดีตกับสิ่งที่กำลังเกิดขึ้นในปัจจุบัน และเห็นความสัมพันธ์ระหว่างทั้งสองอย่าง
  • เพื่อสร้างชุมชนที่มีความเข้าใจและยอมรับกันประวัติศาสตร์ช่วยสร้างชุมชนที่มีความเข้าใจและยอมรับกัน โดยที่คนทุกคนมีโอกาสในการแสดงความเห็นที่แตกต่างกัน และมีความเคารพในวัฒนธรรมและความแตกต่างของกันและกัน ประวัติศาสตร์สถานที่สำคัญ
  • การเสริมสร้างสมรรถภาพในการวิเคราะห์และการคิดเชิงวิชาการ การศึกษาประวัติศาสตร์ช่วยส่งเสริมความสามารถในการวิเคราะห์และการคิดเชิงวิชาการของเรา และสร้างทักษะในการคิดอย่างมีเหตุผลและสร้างเหตุผล

ประวัติศาสตร์ยุคใหม่ ในสิ่งที่กล่าวมาข้างต้นนี้เป็นประโยชน์ของประวัติศาสตร์ที่อาจช่วยให้เราเข้าใจและพัฒนาอนาคตให้ดีขึ้น ความรู้ในประวัติศาสตร์มีความสำคัญอย่างยิ่งในการสร้างชุมชนที่มีความเข้าใจและยอมรับกัน สร้างความเชื่อมโยงระหว่างอดีตและปัจจุบัน และสร้างความเข้าใจในความหลากหลายทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ในการตัดสินใจในสิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ้นในปัจจุบันและในอนาคต ประวัติศาสตร์ยุคปัจจุบัน

แหล่งที่มาของข้อมูล : ประวัติศาสตร์โลก

Credit by :  https://historyofworld.co/